สมัครสมาชิก   |   เข้าสู่ระบบ
index


ไปเที่ยว

แสดงบทความทั้งหมด
ไปแบบผจญภัย
ทะเล
ไปแบบครอบครัว
ศิลปะและวัฒนธรรม
ไปกันเป็นคู่(โรแมนติก)
ไปต่างประเทศ
5 ร้านอาหาร Delivery
mk-gold-บุฟเฟ่ต์ mk gold บุฟเฟ่ต์
สุกกี้เอ็มเค + ติ๋มซำ บุฟเฟ่ต์ มีกว่า 90 รายการอาหาร ภายใน 1...
pizza-company pizza company
สั่งซื้อ Pizza Company ทางอินเตอร์เน๊ต ง่ายมากเพียงแค่คลิ๊กท...
โออิชิ-เดลิเวอรี่ โออิชิ เดลิเวอรี่
โออิชิ เดลิเวอรี่...
ห้องอาหารฮั่วเซ่งฮง ห้องอาหารฮั่วเซ่งฮง
ฮั่วเซ่งฮง ภัตตาคารจีน เปิดบริการมายาวนานกว่า 35 ปี...
5 บทความยอดนิยม
ถนนกับการท่องเที่ยว ถนนกับการท่องเที่ยว
ประโยชน์แห่งความสุขของการท่องเที่ยว ไม่ได้มีแค่ ที่จุดหมายปล...
โดย: nongview
ท่องเที่ยว-ทั่วไทย ท่องเที่ยว ทั่วไทย
ท่องเที่ยว ทั่วไทย ชายหาด ทะเล ป่าเขา น้ำตก อุทยานแห่งชาติ ถ...
โดย: nongview
จุดชมวิวทั่วไทย จุดชมวิวทั่วไทย
รวมภาพจุดชมวิวทั่วไทย...
โดย: nongview
เที่ยวเกาะเสม็ด เที่ยวเกาะเสม็ด
เกาะเสม็ดเป็นเกาะที่อยู่ไม่ไกลจากกรุงเทพ หาดทรายนี่ขาวสะอาด...
โดย: thejuk
หิ่งห้อย หิ่งห้อย
แมลงมีแสงที่ก้น แสดงถึงความอุดมสมบูรณ์ของระบบนิเวศน์มี 4 ระย...
โดย: nongview
ไปไหนดี
ไปไหนดี    >   วัดอรุณ   >    กรุงเทพมหานคร
เจ้าของบทความ nongview    Share
วัดอรุณ    ขื่อ : วัดอรุณ

   

   ที่ตั้ง : 34 ถนนอรุณอมรินทร์ แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ จ.กรุงเทพฯ

   URL :

   ประเภท : วัด

  จุดเด่น :

พระปรางค์ริมแม่น้ำเจ้าพระยา ยิ่งสวยงามเมื่ออาทิตย์ตก ชมทิวทัศน์ของแม่น้ำเจ้าพระยาบนเรือข้ามฝาก


  รายละเอียด :

วัดอรุณราชวราราม เป็นวัดโบราณสร้างมาตั้งแต่สมัยอยุธยา ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา เดิมเรียกว่า "วัดมะกอก" ตามชื่อตำบลบางมะกอกซึ่งเป็นตำบลที่ตั้งวัด ภายหลังเปลี่ยนเป็น "วัดมะกอกนอก" เพราะมีวัดสร้างขึ้นใหม่ในตำบลเดียวกันแต่อยู่ลึกเข้าไปในคลองบางกอกใหญ่ชื่อ "วัดมะกอกใน" ต่อมาใน พ.ศ. ๒๓๑๐ เมื่อสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชมีพระราชประสงค์จะย้ายราชธานีมาตั้ง ณ กรุงธนบุรีจึงเสด็จกรีฑาทัพล่องลงมาทางชลมารคถึงหน้าวัดมะกอกนอกนี้เมื่อเวลารุ่งอรุณพอดี จึงทรงเปลี่ยนชื่อวัดมะกอกนอกเป็น "วัดแจ้ง" เพื่อเป็นอนุสรณ์แห่งนิมิตที่ได้เสด็จมาถึงวัดนี้เมื่อเวลาอรุณรุ่ง

 

เมื่อพระเจ้าตากสินมหาราชโปรดให้ย้ายราชธานีจากกรุงศรีอยุธยามาตั้ง ณ กรุงธนบุรีและได้ทรงสร้างพระราชวังใหม่  มีการขยายเขตพระราชฐาน  เป็นเหตุให้วัดแจ้งตั้งอยู่กลาง พระราชวังจึงไม่โปรดให้มีพระสงฆ์จำพรรษา  นอกจากนั้นในช่วงเวลาที่กรุงธนบุรีเป็นราชธานี ถือกันว่าวัดแจ้งเป็นวัดคู่บ้านคู่เมือง เนื่องจากเป็นวัดที่ประดิษฐานพระแก้วมรกตและพระบาง ซึ่งสมเด็จพระยามหากษัตริย์ศึก (พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช) ได้อัญเชิญพระพุทธรูปสำคัญ ๒ องค์นี้มาจากลาวในคราวที่เสด็จตีเมืองเวียงจันทร์

ได้ในปี พ.ศ. ๒๓๒๒โดยโปรดให้อัญเชิญพระแก้วมรกตและพระบางขึ้นประดิษฐาน เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ ๑ เสด็จเถลิงถวัลราชสมบัติ ได้โปรดให้สร้างพระนครใหม่ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา และรื้อกำแพงพระราชวังกรุงธนบุรีออก วัดแจ้งจึงไม่ได้อยู่ในเขตพระราชวังอีกต่อไป พระองค์จึงโปรดให้วัดแจ้งเป็นวัดที่มีพระสงฆ์จำพรรษาอีกครั้งหนึ่ง นอกจากนั้นพระองค์ทรงมอบหมายให้สมเด็จ พระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร (ร. ๒) เป็นผู้ดำเนินการปฏิสังขรณ์วัดแจ้ง

ไว้ในมณฑป  และมีการสมโภชใหญ่ ๗ คืน ๗ วัน(ในปี พ.ศ. ๒๓๒๗ พระแก้วมรกตได้ย้ายมาประดิษฐาน ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในพระบรมหาราชวัง  ส่วนพระบางนั้นสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกได้โปรด

พระราชทานคืนไปนครเวียงจันทร์) แต่สำเร็จเพียงแค่กุฎีสงฆ์ก็สิ้นรัชกาลที่ ๑ ใน พ.ศ. ๒๓๕๒ เสียก่อน ต่อมาในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒ พระองค์ทรงดำเนินการปฏิสังขรณ์ต่อจนเสร็จ

ทั้งได้ทรงปั้นหุ่นพระพุทธรูปด้วยฝีพระหัตถ์ และโปรดให้หล่อขึ้นประดิษฐานเป็นพระประธานในพระอุโบสถ และโปรดให้มีมหรสพสมโภชฉลองวัดในปี พ.ศ. ๒๓๖๓ แล้วโปรดพระราชทาน

พระนามวัดว่า "วัดอรุณราชธาราม"  ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๓ ได้ทรงปฏิสังขรณ์วัดอรุณฯใหม่หมดทั้งวัด พร้อมทั้งโปรดให้ลงมือก่อสร้างพระปรางค์ตามแบบที่ทรงคิดขึ้น

จนสำเร็จเป็นพระเจดีย์สูง ๑ เส้น ๑๓ วา ๑ ศอก ๑ คืบ กับ ๑ นิ้ว ฐานกลมวัดโดยรอบได้ ๕ เส้น ๓๗ วา ซึ่งการก่อสร้างและปฏิสังขรณ์สิ่งต่าง ๆ ภายในวัดอรุณฯ นี้สำเร็จลงแล้ว

แต่ยังไม่ทันมีงานฉลองก็สิ้นรัชกาลที่ ๓ ในปี พ.ศ. ๒๓๙๔ เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๔ เสด็จเถลิงถวัลราชสมบัติ พระองค์ได้โปรดให้สร้างและปฏิสังขรณ์สิ่งต่าง ๆ ในวัดอรุณฯ เพิ่มเติมอีกหลายอย่าง

ทั้งยังได้อัญเชิญพระบรมอัฐิของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยมาบรรจุไว้ที่พระพุทธอาสน์ของพระประธานในพระอุโบสถที่พระองค์ทรงพระราชทานนามว่า "พระพุทธธรรมมิศรราชโลกธาตุดิลก" และเมื่อได้ทรงปฏิสังขรณ์เสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงได้พระราชทานนามวัดเสียใหม่ว่า"วัดอรุณราชวราราม" ดังที่เรียกกันมาจนถึงปัจจุบัน

 

ครั้นถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ เกิดเพลิงไหม้พระอุโบสถ จึงโปรดเกล้าฯ ให้ปฏิสังขรณ์พระอุโบสถใหม่เกือบทั้งหมด โดยได้โปรดให้กรมหมื่นปราบปรปักษ์เป็นแม่กองในการบูรณะ และโปรดเกล้าฯให้นำเงินที่เหลือจากการบริจาคของพระบรมวงศานุวงศ์ไปสร้างโรงเรียนตรงบริเวณกุฎีเก่า ด้านเหนือ ซึ่งชำรุดไม่มีพระสงฆ์อยู่เป็นตึกใหญ่แล้วพระราชทานนามว่า "โรงเรียนทวีธาภิเศก" นอกจากนั้นยังได้โปรดให้พระยาราชสงครามเป็นนายงานอำนวยการปฏิสังขรณ์พระปรางค์

องค์ใหญ่ และเมื่อเสร็จเรียบร้อยแล้วจึงโปรดให้มีการฉลองใหญ่รวม ๓ งานพร้อมกันเป็นเวลา ๙ วัน คือ งานฉลองพระไชยนวรัฐ งานบำเพ็ญพระราชกุศลพระชนมายุสมมงคล คือ มีพระชนมายุเสมอพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และ งานฉลองพระปรางค์

 

ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ ๙ มีการบูรณะปฏิสังขรณ์หลายอย่าง โดยเฉพาะพระปรางค์วัดอรุณฯ ได้รับการปฏิสังขรณ์เป็นการใหญ่มีการประกอบพิธีบวงสรวงก่อนเริ่มการบูรณะพระปรางค์ใน วันพุธที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๑๐ และการบูรณะก็สำเร็จด้วยดีดังเห็นเป็นสง่างามอยู่จนทุกวันนี้

 

ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๓๖๓ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย โปรดเกล้าฯ ให้มีการปฏิสังขรณ์และฉลองวัดและพระราชทานนามใหม่ว่า "วัดอรุณราชธาราม" ครั้นถึงรัชการพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้บูรณะปฏิสังขรณ์เพิ่มเติมอีก แล้วทรงเปลี่ยนชื่อวัดเป็น "วัดอรุณราชวราราม" ดังที่เรียกกันมาจนถึงปัจจุบัน

ที่มา watarun.org


  เงื่อนไข :

เที่ยวได้ทุกวัน

การเดินทาง         
โดยรถประจำทางสาย1, 19, 57 ท่าเรือข้ามฟากขึ้นจากท่าเตียน ขึ้นที่ท่าวัดอรุณฯ


แสดงความเป็นเจ้าของบทความ

คนเข้าดู : 7842 โหวต : 625
Google Map



ส่งLink นี้ให้เพื่อถ้าส่งหลายคนให้ใช้เครื่องหมาย , คั่น
Email :

จาก :

Script Comment


ที่เที่ยว กรุงเทพมหานคร *(จำนวนคนเข้าดู)
ที่เที่ยว
   นิทรรศน์รัตนโกสินทร์  (6196)
   พิพิธภัณฑ์บ้านไทย-จิมทอมป์สัน  (7939)
   ศาลหลักเมือง  (8611)
   อนุสาวรีย์ทหารอาสา  (4804)
   มิวเซียมสยาม  (11091)
   พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ-หอศิลป  (590)
   พิพิธภัณฑ์พระที่นั่งวิมานเมฆ  (7176)
   พระที่นั่งอาภรณ์ภิโมกข์ปราสาท  (5154)
   พิพิธภัณฑ์ธนาคารไทย  (5644)
   เซ็นทรัลพระราม-9  (10165)
   พิพิธภัณฑ์ตราไปรษณียากร  (5123)
   สวนหลวง-ร9  (12006)
   ศาลท่านท้าวมหาพรหม  (3775)
   วัดสุทัศน์เทพวราราม  (10967)
   ตลาดคลองบางมด  (2842)
   พระที่นั่งอนันตสมาคม  (5916)
   ตึกถาวรวัตถุ  (6100)
   วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร  (2476)
   ตลาดน้ำมหานคร  (6991)
   สะพานพระราม8  (14726)
ร้านอาหาร
   บ้านก้ามปู  (5605)
   โซนี่ส์  (4425)
   ไออาต้า  (5852)
   อะหมัดรสดี  (5686)
   ข้าวขาหมูจุฬาพุทธมณฑลสาย  (2566)
   ร้านอาหารไทย-อิตาเลียน-fusion  (4247)
   นิวย่งฮั้ว-ภัตตาคาร  (7384)
   good-enuff-to-eat  (4882)
   moody-s-bar  (6927)
   พูลสิน-ภัตตาคาร  (9908)
   บุรีธารา-บาร์แอนด์เรสเตอรอง  (7591)
   redmango  (4745)
   atelier  (6102)
   เตี๋ยวเรือหลุม  (7396)
   กุ้งหลวง  (4375)
   akiyoshi  (6789)
   ร้าน-dressing-dessert  (6602)
   เสือนอนกิน  (4240)
   ภัตตาคาร-สมบูรณ์ลาภ  (6411)
   ครบเครื่อง  (3550)
ที่พัก
   โรงแรม-ยูนิโก้-แกรนด์-สีลม  (6416)
   siam-at-siam-design-hotel  (8039)
   โรงแรมอาโนมา  (6445)
   คลาสสิก-เพลส-โฮเทล  (7583)
   อมารี-ซิตี้-ลอร์ด  (6585)
   ควีนส์-การ์เด้น-รีสอร์ท  (7049)
   ใบหยก-สกาย-โฮเทล  (8092)
   โรงแรม-ทวินทาวเวอร์  (6826)
   โรงแรมมณเฑียรริเวอร์ไซด์  (8575)
   โรงแรมสีลม-ซีรีน  (7244)
   วาบัวร์-ลอร์ด-รอยัล-สวีท  (7174)
   โรงแรมเอเลแกนซ์-สวีท  (6119)
   โรงแรมพินนาเคิ้ล-ลุมพินี  (7384)
   เม-โทร-พ้อยท์  (6686)
   ดาวินชี่-สูท  (6771)
   โรงแรมบางกอก-ชฎา-โฮเท็ล  (10537)
   โรงแรม-รอยัล-ออร์คิด-เชอราตัน  (10148)
   เซ็นทารา-แกรนด์-แอท-เซ็นทรัลเวิล์ด  (8151)
   ดรีม-โฮเทล  (6717)
   บุรีธารา-รีสอร์ท-กรุงเทพ  (6780)
ของฝาก
   พี่แก้วของฝาก  (5334)
   CDCช้อปปิ้งมอลล์  (4490)
   threeboxทรีบ๊อกซ์  (4890)
   Senafest  (4065)
   วนิลามูน  (4549)
   ส-บุญประกอบพาณิชย์  (8767)
   intintersect  (4375)
   the-aurora-gems  (8447)
   ขนมไทยเก้าพี่น้องตลาดอตก  (5872)
   เรนฮิลล์  (4447)
เทศกาล
   เวิร์คช็อปการแกะไม้ลวดลายและรูปทรงธรรมชาติ  (3990)
   มหกรรมแสดงสินค้าและของตกแต่งบ้าน  (4015)
   fashion-watch-fair  (4022)
   มหกรรมดนตรีคนพิการแห่งเชีย-แปซิฟิกครั้งที่-11  (4502)
   การสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่มของผลิตภัณฑ์ด้วยความคิดสร้างสรรค์ปี2555  (3800)
   เทศกาลอาหารและไวน์ระดับโลก-ครั้งที่-12  (5072)
   amarin-brand-sale-b2s-stationery-festiva  (4064)
   เพราะอยู่บนโลกเดียวกัน  (4284)
   เทศกาลตรุษจีนไชน่าทาวน์เยาวราช  (5701)
   มหกรรมสาดน้ำ-สงกรานต์  (6056)
   เวดดิ้งแฟร์2012บายนีโอ  (4742)
   งาน-bangkok-motorbike-festival-2011  (5170)
   งานแสดงสินค้าอาหารเพื่อสุขภาพและส่วนผสมอาหาร  (3495)
   เย็นทั่วหล้ามหาสงกรานต์  (574)
   งานแสดงสินค้าเครื่องใช้สำนักงานอัตโนมัติและอุตสาหกรรมเครื่องเขียนครั้งที่3  (3775)
   bangkok-international-book-fair-2011  (6870)
   เทศกาลภาพยนตร์สั้นครั้งที่-16  (4130)
   เทศกาลตรุษจีนเยาวราช-2554-3-4กุมภาพันธ์  (6824)
   make-a-wish-countdown-2011  (1519)
   เทศกาลอาหารเมดิเตอร์เรเนียน  (4512)
 
บริษัท ข้อมูลนักท่องเที่ยว ออนไลน์ จำกัด
เกี่ยวกับเรา | นโยบายความเป็นส่วนตัว | การใช้เวปไซต์
ไปไหนดี.com. All Rights Reserved.(Support Browser Google Chrome & FireFox)