สมัครสมาชิก   |   เข้าสู่ระบบ
index


ที่พัก

แสดงบทความทั้งหมด
โฮมสเตย์
เกสท์เฮ้าส์
บังกะโล
รีสอร์ท
โรงแรม
5 ร้านอาหาร Delivery
mk-gold-บุฟเฟ่ต์ mk gold บุฟเฟ่ต์
สุกกี้เอ็มเค + ติ๋มซำ บุฟเฟ่ต์ มีกว่า 90 รายการอาหาร ภายใน 1...
pizza-company pizza company
สั่งซื้อ Pizza Company ทางอินเตอร์เน๊ต ง่ายมากเพียงแค่คลิ๊กท...
โออิชิ-เดลิเวอรี่ โออิชิ เดลิเวอรี่
โออิชิ เดลิเวอรี่...
ห้องอาหารฮั่วเซ่งฮง ห้องอาหารฮั่วเซ่งฮง
ฮั่วเซ่งฮง ภัตตาคารจีน เปิดบริการมายาวนานกว่า 35 ปี...
5 บทความยอดนิยม
ถนนกับการท่องเที่ยว ถนนกับการท่องเที่ยว
ประโยชน์แห่งความสุขของการท่องเที่ยว ไม่ได้มีแค่ ที่จุดหมายปล...
โดย: nongview
ท่องเที่ยว-ทั่วไทย ท่องเที่ยว ทั่วไทย
ท่องเที่ยว ทั่วไทย ชายหาด ทะเล ป่าเขา น้ำตก อุทยานแห่งชาติ ถ...
โดย: nongview
จุดชมวิวทั่วไทย จุดชมวิวทั่วไทย
รวมภาพจุดชมวิวทั่วไทย...
โดย: nongview
เที่ยวเกาะเสม็ด เที่ยวเกาะเสม็ด
เกาะเสม็ดเป็นเกาะที่อยู่ไม่ไกลจากกรุงเทพ หาดทรายนี่ขาวสะอาด...
โดย: thejuk
หิ่งห้อย หิ่งห้อย
แมลงมีแสงที่ก้น แสดงถึงความอุดมสมบูรณ์ของระบบนิเวศน์มี 4 ระย...
โดย: nongview
ไปไหนดี
ไปไหนดี    >   ที่พัก    >   Taktsang   >   
เจ้าของบทความ gplace    Share
Taktsang    ขื่อ : Taktsang

   

   ที่ตั้ง : พาโร, ภูฏาน

   URL : http://gplace.com/วัดตั๊กซัง

   ประเภท :

   ราคา :

   เบอร์โทร :

  จุดเด่น :

วัดตั๊กซัง วัดที่อยู่บนริมหน้าผาสูงชัน นักท่องเที่ยวต้องเดินเท้ากว่า 3.5 กม. ทางขึ้นเขา เพิ่อไปให้ถึงวัด


  รายละเอียด :

วัดตักซัง หรือ อ่านว่า ทักซัง มีชื่อเสียงรู้จักกันแพร่หลายไปทั่วโลก รวมถึงเป็นวัดที่โด่งดังที่สุดในภูฏานอีกด้วย วัดนี้มีชื่ออีกชื่อหนึ่งว่า “วัดถ้ำเสือ” เป็นวัดที่ศักดิ์สิทธิ์ที่สุดในภูฏาน ไปกลับประมาณ 4 ชั่วโมง ต้องอาศัยการเดินเท้าขึ้นไป หรือหากเดินกันไม่ไหวก็ใช้วิธีการขี่ม้า ค่าขี่ม้าก็ราว 500 นู หรือ ประมาณ 300 กว่าบาท วัดทักซังในสายตาของเราในเวลานี้ดูโดดเด่นออกมาจากหินผาที่ตัดตรง คล้ายกับว่าวิหารแห่งนี้ล่องลอยได้ในอากาศ


วัดทักซังประกอบไปด้วยอาคาร 13 หลัง ตั้งไต่ระดับความสูงลดหลั่นคล้ายซ้อนกันอยู่อย่างหมิ่นเหม่จนแทบจะมองไม่เห็นว่าจะมีทางใดในการเดินขึ้นไปสู่วัด เล่ากันว่าวัดแห่งนี้ ท่านคุรุรินโปเชเคยเข้ามาบำเพ็ญญาณบารมี ส่วนท่านซับดรุง งาวัง นัมเกล ก็เคยเข้าไปเยี่ยมวักแห่งนี้เช่นเดียวกัน … วัดแห่งนี้จึงได้รับการเลื่อมใสของชาวพุทธภูฏานเป็นอย่างมากในการเดินทางมาสวดมนต์ภาวนาปฏิบัติธรรม วัดทักซัง เคยถูกไฟไหม้ทำลายลงถึง 2 ครั้งในปี พ.ศ.2494 และ พ.ศ.2541 จนสิ่งก่อสร้างหลักและเครื่องตกแต่งภายในวัดเสียหายไปจนเกือบหมด แต่ก็ได้รับการฟื้นฟูโดยรัฐบาลภูฏานให้กลับคืนสภาพสวยงามดังเดิม และมีการบูรณะครั้งใหญ่ในปี พ.ศ.2543


ที่มาของวัดทักซังนั้น ชาวภูฏานเชื่อกันว่า ในครั้งแรกที่มีการสร้างวัดนี้ ท่านกูรูริมโปเช (แปลว่า อาจารย์ใหญ่ผู้ล้ำเลอค่า) ผู้ซึ่งชาวภูฏานเชื่อว่าเป็นพระพุทธเจ้าองค์ที่ 2 ได้ขี่นางเสือตัวหนึ่งและเหาะด้วยญานบารมีมาจากทางภาคตะวันออกของประเทศ ขึ้นมาบำเพ็ญญาณในถ้ำของวัด จนเมื่อครบ 3 เดือนท่านจึงออกมาเพื่อแสดงธรรมแก่ชาวบ้านที่อาศัยอยู่ในหุบเขาพาโร ต่อมาถ้ำนี้กลายเป็นสถานที่สำหรับการเจริญสมาธิ และบำเพ็ญเพียรของพระลามะอีกหลายรูป


ที่วัดมีเวลาเปิดปิดพักกลางวันด้วย ระหว่าง 13.00-14.00 น. หากได้มาภูฏานแล้วได้มาพิชิตวักตักซังก็นับได้ว่าเป็นมงคลกับชีวิตและได้พิสูจน์สมรรถภาพของร่างกายความแข็งแรงไปด้วยพร้อมกัน ที่วัดตั้งอยู่ที่ระดับความสูงประมาณ 3,000 เมตรจากระดับน้ำทะเลคนพื้นราบอย่างเราอาจจะเหนื่อยง่าย เดินไปเรื่อยๆ ทางเดินขึ้นไปวัดไม่ชัน เดินไปเรื่อยๆ ได้ทักทายชาวต่างชาติระหว่างทางมากมายเป็นมิตรภาพดีๆระหว่างการเดินทาง


  เงื่อนไข :

ต้องจอดรถแล้วเดินขึ้นไปหลายกิโลเมตร (915 เมตรในแนวดิ่ง ) เปิด - ปิด เวลา 13.00-14.00 น. นักท่องเที่ยวควรไปให้ทันช่วงเช้า ใช้เวลาเดินเท้าประมาณ 3 ชั่วโมง แบ่งเป็น 3 ช่วง ช่วงแรกทางตีนเขา ถึงจุดชมวิว ช่วง2 จุดชมวิวถึงทางลงบรรได ช่วงที่ 3 จากทางบรรได700 ขั้น ไปตัววัด


แสดงความเป็นเจ้าของบทความ

คนเข้าดู : 425 โหวต : 594
Google Map

ประวัติการเข้าชม
อุทยานแห่งชาติแม่วงก์นครสวรรค์
เมืองเก่าเกาะลันตา
สวนชมน่านเฉลิมพระเกียรติ
ร้านอาหารปีเถาะ
สวนสาธารณะเทศบาลตำบลเบตง


ส่งLink นี้ให้เพื่อถ้าส่งหลายคนให้ใช้เครื่องหมาย , คั่น
Email :

จาก :

Script Comment


ที่เที่ยว *(จำนวนคนเข้าดู)
ที่เที่ยว
   ปูนาคาซอง  (2159)
   พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติภูฏาน  (1878)
   ParoDzong  (1953)
   TamchoeMonastery  (1922)
ร้านอาหาร
   FolkHeritageMuseumRestaurant  (2110)
ที่พัก
ของฝาก
เทศกาล
 
บริษัท ข้อมูลนักท่องเที่ยว ออนไลน์ จำกัด
เกี่ยวกับเรา | นโยบายความเป็นส่วนตัว | การใช้เวปไซต์
ไปไหนดี.com. All Rights Reserved.(Support Browser Google Chrome & FireFox)